ประเพณีของไทย
The
festival of the Illuminated Boat Procession or “Lai Reua Fai” in Thai
and “Lai Heua Fai” in local dialect is an ancient tradition of
northeastern people. In the past, the festival was held in several
provinces in this region, later only some provinces still preserve this
tradition especially Nakhon Phanom Province where the annual event draws
visitors from different directions.
Originally,
the boats were made of banana logs or bamboo but modern versions can be
made of wood or synthetic materials. A boat’s length was about 8 to 10
meters. Inside the boat, there were sweets, steamed-sticky rice wrapped
in banana leaves (Khao Tom Mud) and other offerings while the outside of
the boat was decorated with flowers, joss-sticks, candles and lamps. At
night the fire boats were launched on the Mekong River and illuminated
in a spectacular display.
The
festival of the Illuminated Boat Procession takes place at the end of
the Buddhist Rains Retreat or Ork Phansa (usually some time during
October). On this occasion, residents of several villages will jointly
observe Ork Phansa by launching intricatedly decorated little boats on
the Mekong River when the night falls. Boat racing and a wax castle
procession are also included in the festival. The event was said to have
carried down from several generations as a means to worship Lord Buddha
who, according to Buddhist legend, returned to earth after completing
his – month mission in heaven.
Meanwhile,
the ceremony of launching fire boats will usually be performed in the
evening before the sunset. Buddhist monks will be invited to chant, give
precepts and deliver a sermon. However, the participants must bring
joss-sticks and candles to take part in a religious rite. As soon as the
sun’s rays disappear, the boats will be lit and launched on the Mekong
River to worship Lord Buddha.
At
this time, in the middle of the Mekong River, lights in various shapes
from the floating boats can be seen from a long distance and this is
considered as a significant symbol to uphold Buddhism. The event brings
about happiness to all Buddhists while foreign visitors will enjoy
watching a marvelous illuminated display.
งานประเพณีไหลเรือไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟหรือที่เรียกเป็นภาษาท้องถิ่นว่า “ไหล
เฮือไฟ” นั้น เป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวอีสาน
ในอดีตประเพณีนี้จัดให้มีขึ้นในหลายจังหวัดในภาคนี้แต่ต่อมามีเพียงบาง
จังหวัดเท่านั้นที่ยังคงยึดถือประเพณีไว้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดนครพนมซึ่งงานประเพณีประจำปีนี้ดึงดูดนักท่อง
เที่ยวจากทั่วสารทิศ
เดิมทีเดียว เรือเหล่านี้ทำด้วยต้นกล้วยหรือไม้ไผ่ แต่ในยุคนี้อาจจะทำด้วยไม้หรือวัสดุสังเคราะห์ก็ได้ ความยาวของลำเรือประมาณ 8
ถึง 10 เมตร ภายในเรือมีขนม ข้าวต้มมัดและเครื่องไทยทานต่างๆ เป็นจำนวนมาก
ส่วนด้านนอกของเรือก็มีดอกไม้ ธูปเทียน และตะเกียง
พอถึงเวลากลางคืนก็ปล่อยเรือไฟลงในแม่น้ำโขง
ดูสว่างไสวไปด้วยการแสดงอันตระการตา
ประเพณีไหลเรือไฟจัดให้มีขึ้นในช่วงสิ้นสุดฤดูกาลเข้าพรรษา
(ช่วงออกพรรษาโดยปกติราวๆ ระหว่างเดือนตุลาคม)
ในโอกาสนี้ชาวบ้านหลายหมู่บ้านจะร่วมกันจัดงานออกพรรษาโดยการทำเรือขนาดเล็ก
ประดับประดาอย่างประณีตเพื่อปล่อยลงในแม่น้ำโขงในเวลากลางคืน
การแข่งขันเรือและขบวนแห่ปราสาทผึ้งก็จัดให้มีขึ้นในช่วงงานประเพณีนี้ด้วย
กล่าวกันว่างานประเพณีนี้ถือปฏิบัติสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคนเพื่อบูชาพระ
พุทธเจ้าซึ่งตามตำนานทางพระพุทธศาสนากล่าวว่าพระองค์เสด็จลงมาสู่โลกหลังจาก
เสร็จสิ้นภาระกิจที่ทรงปฏิบัติอยู่บนสวรรค์เป็นเวลา 3 เดือน
ใน
ขณะเดียวกัน
พิธีไหลเรือไฟนี้โดยปกติจะจัดขึ้นในช่วงเย็นก่อนพระอาทิตย์ตกดิน
มีการนิมนต์พระมาสวดมนต์ให้ศีลและแสดงพระธรรมเทศนา
อย่างไรก็ตามผู้ที่มาเข้าร่วมในพิธีต้องนำธูปเทียนมาเข้าร่วมทำพิธีทางศาสนา
เอง ทันทีที่แสงพระอาทิตย์ลับขอบฟ้า
เรือไฟก็จะถูกจุดขึ้นแล้วปล่อยลงในแม่น้ำโขงเพื่อบูชาพระพุทธเจ้า
ณ
เวลานี้ กลางลำน้ำโขงแสงไฟเป็นรูปต่างๆ
จากเรือที่ลอยลำอยู่สามารถมองเห็นได้แต่ไกล
และนี่ก็ถือกันว่าเป็นสัญญลักษณ์ที่สำคัญแห่งการเทิดทูนพระพุทธศาสนา
ประเพณีนี้นำมาซึ่งความสุขต่อชาวพุทธทั้งมวลในขณะที่นักท่องเที่ยวชาวต่าง
ชาติก็เพลิดเพลินกับการได้ชมการแสดงอันสว่างไสวดูน่าอัศจรรย์ยิ่งนัก
..............................................................................................
Songkran Festival
“Songkran”
is the Thai traditional New Year and an occasion for family reunion. At
this time, people from the rural areas who are working in the city
usually return home to celebrate the festival. Thus, when the time
comes, Bangkok temporarily turns into a deserted city.
The
festival falls on April 13 and the annual celebration is held
throughout the kingdom. In fact, “Songkran” is a Thai word which means
“move” or “change place” as it is the day when the sun changes its
position in the zodiac. It is also known as the “Water Festival” as
people believe that water will wash away bad luck.
This
Thai traditional New Year begins with early morning merit-making
offering food to Buddhist monks and releasing caged birds to fly freely
into the sky. During this auspicious occasion, any animals kept will be
set free. Paying homage to one’s ancestors is an important part of the
day. People will pay their respects to the elders by pouring scented
water over the palms of their hands. The elders in return wish the
youngsters good luck and prosperity.
In
the afternoon, after performing a bathing rite for Buddha images and
the monks, the celebrants both young and old, joyfully splash water on
each other. The most-talked about celebration takes place in the
northern province of Chiang Mai where Songkran is celebrated from April
13 to 15. During this period, people from all parts of the country flock
there to enjoy the water festival, to watch the Miss Songkran Contest
and the beautiful parades.
In
Bangkok, the Buddha image “Buddhasihing” is brought out from the
National Museum for people to sprinkle lustral water at Sanam Luang
opposite the Grand Palace.
เทศกาลสงกรานต์
“สงกรานต์”
คือ
วันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีไทยและเป็นโอกาสที่สมาชิกในครอบครัวจะได้พบกันพร้อม
หน้าพร้อมตา
ในช่วงเวลานี้ประชาชนผู้ซึ่งเป็นคนต่างจังหวัดที่มาทำงานในกรุงเทพมหานคร
ส่วนใหญ่ก็จะเดินทางไปฉลองเทศกาลนี้ที่บ้านเกิดของตน
ดังนั้นเมื่อเทศกาลนี้มาถึงกรุงเทพมหานครก็จะกลายเป็นเมืองร้างไปชั่วคราว
เทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ 13
เมษายนและการฉลองประจำปีก็จะจัดให้มีขึ้นทั่วทั้งราชอาณาจักร
ที่จริงแล้วคำว่า “สงกรานต์” นี้เป็นภาษาไทยซึ่งหมายถึง “เคลื่อนย้าย” หรือ
“เปลี่ยนที่” เพราะว่าเป็นวันที่พระอาทิตย์เปลี่ยนตำแหน่งในทางจักรราศี
นอกจากนี้ยังเรียกว่า “เทศกาลน้ำ” อีกด้วย
เพราะว่าประชาชนเชื่อว่าน้ำจะพัดพาเอาสิ่งที่เป็นอัปมงคลออกไป
วัน
ขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของไทยนี้เริ่มต้นแต่เช้าตรู่ด้วยการทำบุญตักบาตรแก่
พระสงฆ์และปล่อยนกที่ขังไว้ให้เป็นอิสระ ในช่วงวาระโอกาสอันเป็นมงคลนี้
สัตว์ต่างๆ ที่ถูกขังไว้ก็จะได้รับการปล่อยให้เป็นอิสระ
พร้อมกันนี้การไหว้บรรพบุรุษก็เป็นส่วนสำคัญของวันนี้ด้วย
ประชาชนจะแสดงความเคารพต่อผู้สูงอายุ
และในทางกลับกันผู้สูงอายุก็จะอวยพรให้ผู้น้อยประสบโชคดีและเจริญรุ่งเรือง
ใน
ตอนบ่าย หลังจากพิธีสรงน้ำพระพุทธรูปและพระสงฆ์แล้ว
ผู้ร่วมฉลองทั้งหนุ่มและแก่ต่างสาดน้ำใส่กันอย่างสนุกสนาน
การฉลองที่มีคนกล่าวขานกันมากที่สุดเห็นจะเป็นที่จังหวัดทางภาคเหนือ คือ
เชียงใหม่ ซึ่งการฉลองที่นี่จะมีขึ้นระหว่างวันที่ 13-15
เมษายน
ช่วงเวลานี้ประชาชนจากทั่วทุกภาคของประเทศจะแห่กันไปที่นั่นเพื่อร่วมสนุก
สนานในเทศกาลน้ำนี้ เพื่อชมการประกวดนางงามสงกรานต์และขบวนพาเหรดที่สวยงาม
ในกรุงเทพมหานคร พระพุทธรูป “พระ
พุทธสิหิงค์”
จะถูกอัญเชิญจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติมาประดิษฐานไว้ที่ท้องสนามหลวง
(ตรงข้ามพระบรมมหาราชวัง) เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำด้วย
.........................................................................................................................
The Royal Ploughing Ceremony
The
annual Ploughing Ceremony usually takes place in May every year at
Sanam Luang near the Grand Palace in Bangkok. The ceremony has been
performed since ancient times and designed to give an auspicious
beginning to the new planting season.
In
fact, the Ploughing Ceremony is of Brahman origin and it was practised
even before the birth of Lord Buddha who, then a Prince, used to take
part in the ceremony. The auspicious day and time are to set by the
Royal Brahman astrologers. Nowadays, although Their Majesties are
present at the ceremony, the King no longer takes the leading role, His
Majesty the King appoints the Ploughing Lord as his representative to
carry out the rites.
During
this colourful ceremony, the amount of rainfall to be expected in the
coming season is forecast. The Ploughing Lord is offered a choice of
three lengths of cloth, all looking identical, if his choice is the
longest one there will be little rain during the coming year; if it is
the shortest one, rain will be plentiful while the one of medium length
indicates average rain.
After
donning the piece of cloth, called “Panung”, the Ploughing Lord then
ploughs furrows in Sanam Luang with a sacred plough of red and gold
drawn by sacred white bulls and followed by four consecrated ladies who
carry gold and silver baskets filled with rice seed. Walking alongside
the plough are Brahmans who are chanting and blowing conch shells.
When
the ploughing is finished the bulls are presented with seven different
foods and drink, i.e. rice seed, beans, maize, hays, sesame seed, water
and alcoholic liquor. Whatever the bulls choose to eat or drink, it is
forecast that this will be plentiful during the year.
After
the ceremony has ended, the crowds scramble for the seeds sown by the
Ploughing Lord as the seeds are regarded as things that twill bring the
owners wealth and good luck. The farmers will mix the seeds with their
own rice to ensure a good crop in the coming year.
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ<
พระ
ราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้ จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมของทุก ๆ
ปีที่ท้องสนามหลวงใกล้พระบรมมหาราชวังในกรุงเทพมหานคร
ประเพณีนี้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตกาล
โดยมุ่งหวังที่จะให้เป็นสิริมงคลแก่ฤดูกาลเพาะปลูกใหม่
ความ
จริงแล้ว
พิธีแรกนาขวัญนี้มีแหล่งกำเนิดมาจากศาสนาพราหมณ์และถือปฏิบัติกันมาก่อนสมัย
พุทธกาลเสียด้วยซ้ำไป
ดังจะเห็นได้จากครั้งที่พระองค์ยังทรงเป็นเจ้าชายก็ยังเคยเข้าร่วมพิธีนี้
ส่วนวันและเวลา
อันเป็นมงคลสำหรับการประกอบพิธีนั้นก็จะถูกกำหนดขึ้นโดยโหรหลวง
ทุกวันนี้แม้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม
ราชินีนาถ
จะทรงเสด็จมาเป็นประธานในพิธีแต่พระมหากษัตริย์ก็ไม่ได้ทรงนำขบวนด้วย
พระองค์เอง หากแต่ทรงแต่งตั้งพระยาแรกนาขวัญให้เป็นผู้นำในพิธีแทน
ในระหว่างพิธีอันสวยงามนี้ ก็จะมีการทำนายปริมาณน้ำฝนในช่วงฤดูฝนที่กำลังจะมาถึง และแล้วพระยาแรกนาก็จะทำการเลือกผ้า 3
ผืน ที่มีความยาวต่างขนาดกัน ตามชอบใน ผ้าทั้ง 3 ผืน นี้จะดูคล้ายกัน
ถ้าพระยาแรกนาเลือกผืนที่ยาวที่สุดก็ทายว่าปริมาณน้ำฝนจะมีน้อย
ถ้าเลือกผืนที่สั้นที่สุดก็ทายว่าปีนี้ปริมาณน้ำฝนจะมากและถ้าเลือกผืนที่มี
ความยาวขนาดปานกลางทายว่าจะมีปริมาณน้ำฝนพอประมาณ
หลังจากสวมเสื้อผ้าเรียกว่า “ผ้า
นุ่ง” เรียบร้อยแล้ว
พระยาแรกนาก็จะไถลงไปบนพื้นที่ท้องสนามหลวงด้วยพระนังคัลสีแดงและสีทองซึ่ง
ลากโดยพระโคผู้สีขาว ตามขบวนด้วยเทพีทั้ง 4
ผู้ซึ่งหาบกระเช้าทองและกระเช้าเงินที่บรรจุด้วยเมล็ดข้าวเปลือก
นอกจากนี้ก็ยังมีคณะพราหมณ์เดินคู่ไปกับขบวนพร้อมทั้งสวดและเป่าสังข์ไป
พร้อมๆ กัน
เมื่อเสร็จจากการไถแล้ว พระโคก็จะได้รับการป้อนพระกระยาหารและเครื่องดื่ม 7
ชนิด คือ เมล็ดข้าว ถั่ว ข้าวโพด หญ้า เมล็ดงา น้ำ และเหล้า
ไม่ว่าพระโคจะเลือกกินหรือดื่มสิ่งใด
ก็ทายว่าปีนั้นจะอุดมสมบูรณ์ด้วยสิ่งที่พระโคเลือกนั้น
หลัง
จากพิธีจบลง ฝูงชนก็จะกรูเข้าไปแย่งเมล็ดข้าวที่หว่านโดยพระยาแรกนา
เพราะว่าเมล็ดข้าวนี้ถือว่า
เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันจะนำมาซึ่งความอุดมสมบูรณ์และความเป็นสิริมงคลแก่
ผู้ที่มีไว้ในครอบครองชาวนาก็จะใช้เมล็ดข้าวนี้ผสมกับเมล็ดข้าวของตนเพื่อ
ให้พืชผลในปีที่จะมาถึงนี้อุดมสมบูรณ์
Rocket Festival
Rocket
festival or “Boon Bang Fai” in Thai is usually held in the second week
of May of each year, at the beginning of the rainy season. The farmers
are ready to cultivate their paddy fields. The festival is popularly
celebrated in the northeastern provinces of Yasothorn and Ubon
Ratchathani. The celebration is an entreaty to the rain god for
plentiful rains during the coming rice planting season.
The
festival itself owes its beginning to a legend that a rain god named
Vassakan was known for his fascination of being worshipped with fire. To
receive plentiful rains for rice cultivation, the farmers send the
hope-made rockets to the heaven where the god resided. The festival has
been carried out till these days.
Under
the guidance of Buddhist monks, it takes the villagers weeks to make
the rockets, launching platforms and other decorations. An average
rocket is some nine metres in length and carries 20-25 kilogrammes of
gunpowder.
* ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
In
the afternoon of the festival day, rockets are carried in the
procession to the launching site. Villagers dressed in colourful
traditional costumes attract the eyes of the onlookers, who line up
along the procession route.
Before
ignition of the rockets, there will be more singing and dancing to
celebrate the festival. The climax of the festival is the ignition time.
One by one the rockets are fired from the launching platforms. Each
liftoff is greeted by cheers and noisy music. The rocket that reaches
the greatest height is the winner and the owner of this rocket will
dance and urge for rewards on their way home while the owners of the
rockets, that exploded or failed to fly, will be thrown into the mud.
The celebration is a communual affair of the villagers who come to share
joy and happiness together before heading to the paddy fields where
hard work is waiting for them.
บุญบั้งไฟ
โดย
ปกติงานบุญบั้งไฟนี้
จะจัดให้มีขึ้นในช่วงสัปดาห์ที่สองของเดือนพฤษภาคมในแต่ละปีและช่วงนี้ก็
เป็นระยะเวลาเริ่มต้นของฤดูฝน ชาวนาต่างก็พร้อมที่จะทำการเพาะปลูก
เทศกาลนี้นิยมเฉลิมฉลองกันมากในจังหวัดทางภาคอีสาน เช่น ยโสธร
และอุบลราชธานี
การฉลองก็เพื่อเป็นการวิงวอนขอฝนจากพระพิรุณให้ประทานฝนมามากๆ
ในช่วงฤดูกาลปลูกข้าวที่กำลังมาถึง
เทศกาลนี้มีที่มาจากตำนานกล่าวว่า เทพบุตรนามว่า “วัส
สกาล เทพบุตร”
ผู้ซึ่งเป็นที่เลื่องลือว่ามีความเสน่หาในการบูชาด้วยไฟเป็นอย่างยิ่ง
ดังนั้นเพื่อให้มีน้ำฝนเพียงพอต่อการเพาะปลูกข้าว ชาวนาจึงส่งจรวด (บั้งไฟ)
ที่ทำขึ้นเองไปยังสวรรค์ซึ่งเป็นที่สถิ่ตของวัสสกาลเทพบุตร
นับแต่นั้นมาเทศกาลนี้ก็ถือเป็นประเพณีปฏิบัติมาจนถึงทุกวันนี้
ภาย
ใต้คำแนะนำของพระสงฆ์ ชาวบ้านต่างก็ใช้เวลาหลายสัปดาห์เพื่อทำบั้งไฟ
แท่นยิงและการประดับประดาอื่น ๆ โดยเฉลี่ยบั้งไฟแต่ละบั้งมีความยาวประมาณ 9 เมตร และบรรจุดินปืนประมาณ 20-25 กก.
ครั้น
ตอนบ่ายของวันทำพิธี จะมีการแห่แหนบั้งไฟไปยังสถานที่สำหรับจุด
ชาวบ้านต่างก็แต่งตัวตามประเพณีสวยงามเพื่อดึงดูดสายตาของคนดู
ผู้ซึ่งเข้าแถวเรียงรายไปตามเส้นทางขบวนแห่
แต่
ก่อนที่จะจุดบั้งไฟ
ก็จะมีการขับร้องและเต้นรำเพื่อฉลองเทศกาลนี้กันอย่างครึกครื้นพอสมควร
จุดเด่นของเทศกาลนี้ก็คือ ตอนที่จุดบั้งไฟ ซึ่งจะจุดทีละบั้ง
การจุดแต่ละครั้งก็จะตามด้วยเสียงเชียร์และเสียงดนตรีดังอึกทึกไปทั่วบริเวณ
บั้งไฟที่ขึ้นไปสูงสุดจะได้รับการตัดสินว่าชนะและผู้เป็นเจ้าของบั้งไฟที่
ชนะเลิศนั้นก็จะเต้นรำและขอรางวัลจากคนทั่วไปในระหว่างทางที่กลับบ้าน
ในขณะเดียวกัน เจ้าของบั้งไฟที่ระเบิดหรือจุดไม่ขึ้นก็จะถูกโยนลงไปในโคลน
การฉลองนี้เป็นกิจกรรมร่วมกันของชาวบ้าน
ผู้ซึ่งต่างก็มาร่วมรื่นเริงสนุกสนานด้วยกันก่อนที่จะบ่ายหน้าไปยังทุ่งนา
ซึ่งรอการคลาดไถปักดำอยู่เบื้องหน้า
......................................................................................................................................................
ประวัติวันลอยกระทงภาษาอังกฤษ
Loy Krathong Day is one of the most popular festivals of Thailand celebrated annually on the Full-Moon Day of the Twelfth Lunar Month. It takes place at a time when the weather is fine as the rainy season is over and there is a high water level all over the country.
"Loy" means "to float" and a "Krathong" is a lotus-shaped vessel made of banana leaves. The Krathong usually contains a candle, three joss-sticks, some flowers and coins.
In fact, the festival is of Brahmin origin in which people offer thanks to the Goddess of the water. Thus, by moonlight, people light the candles and joss-sticks,
make a wish and launch their Krathongs on canals, rivers or even small ponds. It is believed that the Krathongs carry away sins and bad luck, and the wishes that have been made for the new year due to start. Indeed, it is the time to be joyful and happy as the sufferings are floated away.
The festival starts in the evening when there is a full moon in the sky. People of all walks of life carry their Krathongs to the nearby rivers. After lighting candles and joss-sticks and making a wish, they gently place the Krathongs on the water and let them drift away till they go out of sight.
A Beauty Queen Contest is an important part of the festival and for this occasion
it is called "The Noppamas Queen Contest". Noppamas is a legendary figure from the Sukhothai period. Old documents refer to her as the chief royal consort of a Sukhothai Kng named "Lithai". Noppamas was said to have made the first decorated Krathong to float in the river on the occasion.
In Bangkok, major establishments such as leading hotels and amusement parks organise their Loy Krathong Festival and the Krathong contest as mojor annual function.
For visitors to Thailand, the Loy Krathong Festival is an occasion not to be missed. the festival is listed in the tourist calendar. Everyone is invited to take part and share the joy and happiness.
คำแปลภาษาไทย ประวัติวันลอยกระทง
วัน ลอยกระทง เป็นวันเทศกาลสำคัญ วันหนึ่ง ของคนไทย ซึ่งจะมีขึ้นใน วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เป็นช่วงที่อากาศโปร่งใสสบาย และสิ้นสุดฤดูฝนแล้ว นอกจากนี้ ระดับน้ำ ในแม่น้ำ ลำคลอง ทั่วทั้งประเทศ ก็มีระดับสูงด้วย
คำว่า "Loy" ก็คือ "ลอย" และคำว่า "กระทง" นี้ หมายถึง กระทง รูปดอกบัว ทำด้วยใบตอง และในกระทง ส่วนใหญ่ ก็จะใส่ เทียนไข ธูป 3 ดอก ดอกไม้ และ เงินเหรียญ
ความ จริงแล้ว เทศกาลนี้ แต่เดิมเป็น พิธี ทางศาสนาพราหมณ์ ซึ่งประชาชนต้องการแสดง ความขอบคุณต่อเจ้าแม่คงคา ดังนั้น คืนเดือนเพ็ญ ประชาชนจึงจุดเทียนและธูป พร้อมกับ ตั้งจิตอธิษฐาน แล้วจึงลอยกระทง
ใน ลำคลอง แม่น้ำ หรือแม้แต่ สระน้ำเล็กๆ เป็นที่เชื่อกันว่า กระทงนี้ จะพาไปซึ่ง บาปและความโชคร้าย ทั้งมวลออกไป นอกจากนี้ การตั้งจิตอธิษฐาน ก็เพื่อปีใหม่ ที่กำลังจะมาถึง แน่นอนที่สุด ช่วงนี้เป็น เวลาแห่ง ความรื่นเริง และ สนุกสนาน เพราะได้ลอยความเศร้าโศกต่างๆ ออกไปแล้ว
เทศกาลลอยกระทง จะเริ่มในช่วงเย็น เมื่อพระจันทร์เต็มดวง ประชาชนจาก ทุกสาขาอาชีพ จะนำกระทงของตน ไปยังแม่น้ำ ที่ใกล้ๆ หลังจาก จุดเทียนไข และธูปแล้ว จึงตั้งจิตอธิษฐาน ในสิ่งที่ ตนปรารถนา แล้วจึงค่อยๆ วางกระทงลงในน้ำ แล้วปล่อยให้ กระทงลอยไปจนสุดลูกตา
การประกวด สาวงาม ก็เป็น ส่วนสำคัญของ เทศกาลนี้ เช่นกัน แต่ว่า ในโอกาส เช่นนี้ เราเรียกว่า "ประกวดนางนพมาศ"
นาง นพมาศ เป็นสตรีใน ตำนานครั้ง กรุง สุโขทัย ตามหลักฐาน กล่าวว่า นางนพมาศ เป็นสนมเอก ของพระเจ้า กรุงสุโขทัย พระนาม ว่า "ลิไท" กล่าวกันว่า นางนพมาศ เป็นคนแรก ที่ทำกระทง ประดับประดา สวยงาม เพื่อลอยใน ลำน้ำ ในโอกาสนี้
ในกรุงเทพมหานคร สถานที่ใหญ่ๆ เช่น โรงแรมชั้นนำ และสวนสนุก จะจัดเทศกาล ลอยกระทงขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มี การประกวด กระทงประจำปี ด้วย
บทความจาก http://www.konmun.com/Article/
ความคิดเห็น